ที่มา
เว็บไซต์นี้จัดทำขึ้นภายใต้โครงการวิจัย เรื่อง "การวิจัยนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้และการประเมินแบบออนไลน์ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญสำหรับสถาบันอุดมศึกษา" ซึ่งได้รับทุนวิจัยจาก สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ผ่านสมาคมเครือข่ายการพัฒนาวิชาชีพอาจารย์และองค์กรระดับอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย (สมาคม ควอท)
วัตถุประสงค์
โครงการนี้จัดทำขึ้นเพื่อต้องการเผยแพร่องค์ความรู้ด้านการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ให้แก่ผู้สอน และผู้สนใจทั่วไป โดยมุ่งหวังให้เกิดการยกระดับการสอนออนไลน์ของประเทศไทยให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
ผู้รับผิดชอบ
- รองศาสตราจารย์ ดร. ชนัตถ์ พูนเดช อาจารย์ประจำสำนักนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
- รองศาสตราจารย์ ดร.ณัฎฐภรณ์ หลาวทอง อาจารย์ประจำ สาขาวิชาการวัดและประเมินทางการศึกษา ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- รองศาสตราจารย์ ดร.อิทธิพัทธ์ สุวทันพรกูล อาจารย์ประจำภาควิชาการวัดผลและวิจัยการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
- รองศาสตราจารย์ ดร.ธนิตา เลิศพรกุลรัตน์ อาจารย์ประจำ สำนักนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ผู้จัดเตรียมเนื้อหา
- ดร.สุนทรี สกุลพราหมณ์
- ดร.เมทินี ทนงกิจ
รายการเอกสารอ้างอิง
- กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35. 2563. แนวทางการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) โครงการการนิเทศการจัดการเรียนรู้เชิงรุกโดยใช้กระบวนการชี้แนะและการเป็นพี่เลี้ยง. ลำปาง: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35.
- ณัฐญา นาคะสันต์ และ ชวณัฐ นาสันต์. 2559. เกม: นวัตกรรมเพื่อการศึกษาเชิงสร้างสรรค์ (Game: Innovation for Creative Education). วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก, 34(3): 159.182.
- ทิศนา แขมมณี. 2557. ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
- พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และ พเยาว์ ยินดีสุข. 2558. การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
- ไพฑูรย์ สินลารัตน์. 2558. ปฏิรูปการเรียนรู้: ปฏิรูปการศึกษากลับทางจากล่างขึ้นบน. กรุงเทพมหานคร: สำนักเลขาธิการคุรุสภา.
- รัศมี ศรีนนท์, อุดมกฤษฎิ์ ศรีนนท์, วิภารัตน์ ยมดิษฐ์, และ กรรณิการ์ กิจนพเกียรติ. 2561. การจัดการเรียนรู้เชิงรุกในยุคไทยแลนด์ 4.0 (Active Learning Management in the Era of Thailand 4.0). วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร , 9(2): 331-343.
- วารินทร์ ฟังเพื่องฟู. 2562. การจัดการเรียนรู้ Active Learning ให้สำเร็จ. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 9(1): 135-145.
- วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์. 2558. การสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน (Creativity-based learning). วารสารนวัตกรรมการเรียนรู้, 1(2): 23-37.
- สายสุดา ปั้นตระกูล. 2563. การจัดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อนของผู้เรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยินและผู้เรียนปกติ (Peer-assisted Learning Associated of Hearing-Impaired and Normal-Hearing Students). วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก, 38(2): 35-48.
- สำนักงานศึกษาธิการภาค 3 สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ. 2563. รายงานการวิจัย เรื่อง สภาพและปัญหาการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเขตพื้นที่รับผิดชอบสำนักงานศึกษาธิการภาค 3. ราชบุรี: สำนักงานศึกษาธิการภาค 3.
- สำนักนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 2562. Knowledge Management in General Education: Active Learning สำหรับห้องเรียนขนาดใหญ่. กรุงเทพมหานคร: สำนักนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
- อัญชลี ทองเอม. 2561. การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 (Project-based Learning for Developing Student in the 21st Century). วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) , 8(3): 185-199.
- Aksela, M. & Haatainen, O. 2019. Project-based Learning (PBL) in Practice: Active Teachers’ Views of Its’ Advantages and Challenges. Integrated Education for the Real World: 5th International STEM in Education Conference Post-Conference Proceedings. Australia: Queensland University of Technology.
- Angelo, T. A. & Cross, K.P. 1993. Classroom Assessment Techniques: One Minute Paper. 2nd Ed. San Francisco: Jossey-Bass.
- Brown, A. L. 2014. Implementing active Learning in an Online Teacher Education Course. American Journal of Distance Education , 28(3): 170-182.
- Eisenkraft, A. (2003). Expanding the 5E Model: A Proposed 7E Model Emphasizes “Transfer of Learning” and the Importance of Eliciting Prior Understanding. Science Teacher, 70(6), 56-59.
- Kassymova, G. et. al. 2020. E-Learning Environments and Problem-based Learning. International Journal od Advanced Science and Technology, 29(7): 346-356.
- Lubiano, M. L. D., & Magpantay, M. S. 2021. Enhanced 7E Instructional Model towards Enriching Science Inquiry Skills. International Journal of Research in Education and Science (IJRES), 7(3): 630-658.
- McKenzie, J., et. al. 2011. Peer Review in Online and Blended Learning Environments. Australia: Australian Learning & Teaching Council.
- Newman, M. 2005. Problem-based Learning: An Introduction and Overview of the Key Features of the Approach. Journal of Veterinary Medical Education, 32(1): 12-20.
- Phuangphae. P. 2017. Creativity-based Learning in Social Studies. Silpakorn University Journal (International: Humanities, Social Sciences and Arts), 10(5): 365-374.
- Plass, J. L., Homer, B. D. & Kinzer, C. K. 2015. Foundations of Game-based Learning. Educational Psychology, 50(4): 258-283.
- TATP. 2020. Active Learning and Adapting Teaching Techniques. Canada: Center for Teaching Support & Innovation, University of Toronto.
- Trautman, N., et. al. 2003. Online Peer Review: Learning Science as It’s Practiced. Journal of College Science Teaching, 32(7): 443-447.
- Septini, V., et. al. 2020. Jigsaw as a Community Learning Strategy: Improving Student Social Attitudes. Journal Pendidikan Biologi Indonesia, 6(4): 397-404.
- Silberman, M. 1996. Active Learning: 101 Strategies to Teach Any Subject. Massachusetts: Allyn and Bacon.
- Susiani, T. S., Salimi, M. & Hidayah, R. 2018. Research Based Learning (RBL): How to Improve Critical Thinking Skills?. Conference: Proceedings of the 3rd International Conference on Current Issues in Education. Indonesia: Universitas Sebelas Maret.
- Wati, I. F. 2020. Digital Game-based Learning as a Solution to Fun Learning Challenges during the Covid-19 Pandemic. Proceedings of the 1st International Conference on Information Technology and Education (ICITE 2020) . Indonesia: Atlantis Press.